มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

วันเสาร์ที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2555

สัปดาห์ที่ 7 การวัดพื้นที่


1. วิธีวัดพื้นที่ด้วยลองดูแม็ป  ฟรี  แม็ป  ทูลส์  และโซนัม  โซลูชันส์

https://docs.google.com/file/d/0B24pBhbprz5NQmszYzFaWE55TWc/edit



2.  ยูทีเอ็มโซน
     2.1  แบ่งโลกป็น 60 โซน  ตามเส้นเมริเดียนระหว่างลองจิจูดที่ 1800W-1800E (ดูรูปที่ 4.11)  แนวตั้งแต่ละโซนกว้างเท่ากับ 6ลองจิจูด  ยกเว้นบางโซน  ตัวอย่างเช่น  ทิศตะวันตก-เฉียงใต้ของประเทศนอรเวกว้างมากกว่า 6ลองจิจูด (ดูรูปข้างล่าง) 



     2.2  โซนที่ ด้านซ้ายมือเริ่มต้นที่ลองจิจูด 1800W  อยู่ระหว่างลองจิจูดที่ 1800W-1740
(ดูรูปที่ 4.11) นับจากลองจิจูดที่ 180 0  ไปทางขวามือมีค่า 60 ถึงลองจิจูดที่ 174 ต่อเนื่องไปจนถึงโซนที่ 60  ระหว่างลองจิจูดที่ 174E-180E  สำหรับโซนที่ 1-9  ใช้ นำหน้า เป็น 01-09 
  
   2.3  ทุกโซนมีเส้นเมริเดียนกลาง เส้นเป็นเส้นแบ่งครึ่งโซน  ตัวอย่างเช่น  โซนที่  มีลองจิจูดที่ 1770เป็นเส้นเมริเดียนกลาง โซนที่ 60 มีลองจิจูดที่ 1770เป็นเส้นเมริเดียน-กลาง  ระยะห่างแต่ละข้างจากเส้นเมริเดียนกลางประมาณ 180 กม.      

    2.4  ประเทศไทยอยู่ในโซนที่ 47  และ48  โซนที่ 47  อยู่ระหว่างลองจิจูดที่ 96E-102E  โดยมีลองจิจูดที่ 990 เป็นเส้นเมริเดียนกลาง  สำหรับโซนที่ 48 อยู่ระหว่างลองจิจูดที่ 102E-1080E  โดยมีลองจิจูดที่ 1050 เป็นเส้นเมริเดียนกลาง 

3.  อักษรประจำยูทีเอ็มโซน 

     3.1  แบ่งช่องตามเส้นขนานละติจูดระหว่าง 840N-800ออกเป็น20 ช่อง  แต่ละช่องกว้าง 80 ยกเว้นช่อง  ระหว่างละติจูดที่ 720N-840N  กว้าง 120


     3.2  กำหนดเรียกชื่อแต่ละช่องด้วยอักษร  เริ่มจากช่องที่ ด้านล่างสุดระหว่างละติจูดที่ 720S-80กำหนดอักษรเป็น C  ช่องที่ เป็น D นับต่อเนื่องไปทางเหนือจนถึงช่องที่ 20  เป็น X  ยกเว้น  กับ O  เพราะเหมือนเลข กับ 0  ส่วน กับ B ใช้เป็นอักษรในระบบพิกัดยูพีเอส (The Universal Polar Stereographic Grid)  ของขั้วโลกเหนือ  และ กับ Z  ใช้เป็นอักษรของขั้วโลกใต้ 
           
     3.3  อักษรประจำยูทีเอ็มโซนของประเทศไทยเป็น N,  P  และQ   



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น