มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

วันพุธที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2552

การสร้างสัญลักษณ์สีในแผนที่ด้วยโปรแกรมอะโดเบ โฟโตช็อป (1)

กิจกรรม

เพื่อดูผลการตรวจผลงาน
  1. คลิกชื่อนักศึกษาเพื่อเปิดบล็อกของตนเอง

  2. งชื่อเข้าใช้งาน

  3. คลิกความคิดเห็นท้ายบทความในหน้าแรก

เพื่อบันทึกแผนที่จังหวัดของตนเอง


  1. คลิก File > New Window เป็นหน้าต่างที่ 2 > เปิด http://geosurin.blogspot.com/


  2. คลิกFile>New Window เป็นหน้าต่างที่3 นักศึกษาจังหวัดสุรินทร์คลิกที่นี่http://commons.wikimedia.org/wiki/File:Amphoe_Surin.png นักศึกษาจังหวัดศรีสะเกษข้ามไปข้อ 3

  3. นักศึกษาที่อยู่จังหวัดศรีสะเกษคลิกที่นี่ http://commons.wikimedia.org/wiki/File:Amphoe_%20Sisaket.png
4. ปรากฏแผนที่จังหวัดของตนเอง คลิกเมาส์ขวามือที่แผนที่ คลิก Copy

เพื่อบันทึกแผนที่ด้วยโปรแกรมอะโดเบ โฟโตช็อป

  1. คลิก Start > All Programs >Adobe Photoshop C2

  2. คลิก File > New >OK >Edit > Paste

  3. คลิก File > Save As..>ที่ Save in เลือกไดรฟ D > ที่ช่อง File name พิมพ์แผนที่ > ที่ช่อง Format > คลิกเลือก JPEG > คลิก Save > คลิก OK
เพื่อลบโดยไม่เกิดรอยด่างด้วยโปรแกรมอะโดเบ โฟโตช็อป


  1. ที่ Tool คอลัมน์ที่ 1 แถวที่ 5 คลิก เมาส์เปลี่ยนเป็นวงกลม

  2. ที่มุมบนซ้ายมือ ช่อง Brush คลิกที่ลูกศรขวามือ

  3. ที่ Master Diameter คลิกเมาส์ซ้ายค้างไว้ที่ปุ่ม ลากปุ่มมาทางขวามือขนาด 20 px

  4. กดปุ่ม Alt ที่แป้นอักขระพร้อมคลิกเมาส์ตรงพื้นที่ด้านขวามือของหมายเลข 1

  5. คลิกที่หมายเลข 1 จนหมายเลข 1 หายไปหมด

  6. ที่หน้าต่าง Navigator มุมบนขวามือ คลิกขยาย200 %

  7. คลิกหมายเลขทุกหมายเลขจนหายไปหมด

  8. ที่หน้าต่าง Navigator มุมบนขวามือ คลิกย่อ100 %

  9. คลิก File > Save As..>ที่ Save in เลือกไดรฟ D > ที่ช่อง File name พิมพ์แผนที่1 > ที่ช่อง Format เลือก JPEG โดยอัตโนมัติ > คลิก Save > คลิก OK

เพื่อระบายสีด้วยโปรแกรมอะโดเบ โฟโตช็อป


  1. สีที่กำหนดให้ใช้ดังนี้ อำเภอเมืองใช้สีแดง อำเภอที่ติดกับภ.พนมดองเร็กใช้กลุ่มสีน้ำตาล อำเภอที่มีความสูงลดลงมาตามลำดับใช้กลุ่มสีส้ม เหลือง อำเภอที่เป็นที่ราบใช้กลุ่มสีเขียว และอำเภอที่ม.มูลไหลผ่านใช้กลุ่มสีน้ำเงิน

  2. ดูวิธีการ คลิกที่นี่ http://todomap.blogspot.com/2009/09/paint-bucket-tool-photoshop.html

  3. คลิก File > Save As..>ที่ Save in เลือกไดรฟ D > ที่ช่อง File name พิมพ์แผนที่2 > ที่ช่อง Format เลือก JPEG โดยอัตโนมัติ > คลิก Save > คลิก OK

  4. ถ้าบันทึกไม่ได้ให้คลิก File > Save for Web

เพื่อพิมพ์ชื่ออำเภอด้วยพิคาซา3


  1. คลิกๆรูปแผนที่2 > เลื่อนเมาส์ที่มุมล่างซ้ายมือนอกแผนที่> คลิกแก้ไขใน Picasa

  2. ที่หน้าต่างซ้ายมือ คลิกปุ่มข้อความ

  3. คลิกเมาส์ที่แผนที่ตรงหมายเลข 1 >พิมพ์อำเภอเมือง

  4. คลิกเมาส์ที่แผนที่ตรงหมายเลขอื่นๆ > พิมพ์ชื่ออำเภอจนครบ ไม่ต้องพิมพ์คำว่าอำเภอ

  5. พิมพ์ชื่อจังหวัดและประเทศโดยรอบ

  6. เลือกขนาดอักษร 8 > พิมพ์ชื่อตนเองและวันเดือนปีที่มุมล่างด้านขวามือของแผนที่

  7. คลิกไฟล์ > บันทึกเป็น >ที่ Save in เลือกไดรฟ D > ที่ช่อง File name พิมพ์แผนที่3 > ที่ช่อง Format เลือก JPEG โดยอัตโนมัติ > คลิก Save

  8. ข้อมูลจังหวัดสุรินทร์มี 17 อำเภอ (สำนักงานจ.สุรินทร์ http://www.suringo.t/ surin/2_2.htm) พื้นที่อันดับที่24 จำนวนประชากรปี2551 อันดับที่10 ความหนาแน่นอันดับที่17 (http://www.thaib izcenter.com/province.asp?provid=66)

  9. ข้อมูลจังหวัดศรีสะเกษมี 22 อำเภอ ( http://www.thaibizcenter.com/provin ce.asp?provid=54) พื้นที่อันดับที่ 21 จำนวนประชากรปี2551 อันดับที่ 9 ความหนาแน่นอันดับที่ 19

เพื่อสร้างผลงานในบล็อกของตนเอง

  1. คลิกบทความใหม่

  2. คัดลอกชื่อเรื่องจากบทความของครูในหน้าต่างซ้ายมือวันพุธ, ธันวาคม 23, 2009 ไปวางลงในช่องชื่อเรื่องของตนเอง

  3. คลิกเพิ่มรูปภาพ > Browse > แผนที่ 1,2,3 > อัปโหลดรูปภาพ > คลิกเสร็จสิ้น > คลิกเผยแพร่บทความ

  4. คลิกดูบทความ

วันอาทิตย์ที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2552

ความหมายสัญลักษณ์


กิจกรรม

  1. คลิกชื่อนักศึกษาเพื่อเปิดบล็อกของตนเอง

  2. ลงชื่อเข้าใช้งานคลิกบทความใหม่

  3. คัดลอกชื่อเรื่องจากบทความของครูไปวางลงในช่องชื่อเรื่องของตนเอง

  4. คลิกความคิดเห็นท้ายบทความในหน้าแรกเพื่อดูผลการตรวจผลงาน

  5. ดูรูปที่ 3.9 ด้านล่างนี้ โดยดูสัญลักษณ์ตรงหมายเลข 1




ที่มา: อุตุนิยมวิทยา, กรม. (2552). แผนที่อากาศผิวพื้น. [Online]. Available: http://www.tmd.go.
th / weather_map.php [2,552, เมษายน 15].



ส่วนขยาย





  • พิมพ์หมายเลขในช่องความหมายที่ตรงกับหมายเลขหน้าข้อความต่อไปนี้ลงในบล็อกของตนเอง


1. เป็นอุณหภูมิ 28 องศาเซลเซียส 2. ทัศนวิสัยของการมองเห็นเป็น 98 กม.



3. อุณหภูมิเป็นของจุดน้ำค้าง 26 องศาเซลเซียส 4. ความกดอากาศเป็น 1,008.9 มิลลิบาร์



5. การเปลี่ยนแปลงความกดอากาศเป็นเวลา 3 ชั่วโมงที่ผ่านมา



6. ความสูงของฐานเมฆเป็น 90 กม.



7. แนวโน้มความกดอากาศเป็นเวลา 3 ชั่วโมงที่ผ่านมาเป็นคงที่หรือเพิ่มขึ้นแล้วลดลงหรือลดลงแล้วลดลงอย่างรวดเร็ว



8. สัดส่วนปริมาณเมฆที่ปกคลุมท้องฟ้าเป็น 7 / 8 ส่วน

9. ชนิดของเมฆชั้นสูงเป็น H8 รหัส





  • พิมพ์หมายเลขในช่องสัญลักษณ์ในตารางที่ 2.7 ซึ่งตรงกับหมายเลขหน้าข้อความต่อไปนี้ในบล็อกของตนเอง


1. ท่าเรือที่สำคัญ 2. ปล่องภูเขาไฟ 3. รร.มัธยมปลาย 4. รร.ประถมศึกษา



5. มหาวิทยาลัย 6. วิทยาลัยเทคนิค 7. ศาล 8. วัด



9. สถานีตำรวจ 10. สวนผลไม้ 11. นาข้าว 12. ที่ทุรกันดาร







สร้างผังความคิดต่อจากที่ทำไว้ ดังนี้



6. แนวแบ่งเขตระหว่างประเทศ 7. แนวแบ่งเขตจังหวัด 8. แนวแบ่งเขตอำเภอ



9. วัดมีโบสถ์ 10. อาคาร 11. เจดีย์หนือสถูป 12. มัสยิด



13. สะพานคอนกรีต 14. จุดระดับสูงสุด 15. แม่น้ำลำธารตลอดปี 16. คลองไม่ตลอดปี



17. ทะเลสาบตลอดปี 18. นาข้าว 19. หน้าผาสูงกว่าช่วงต่างเส้นชั้นความสูง 20. ป่าทึบ

  • นำผังความคิดใส่ลงในบล็อกของตนเอง







วันอาทิตย์ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

สัญลักษณ์ในแผนที่ภูมิประเทศL7018









ตัวอย่างสัญลักษณ์ในแผนที่ภูมิประเทศL7018


วันอาทิตย์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

การเพิ่มตำแหน่งบ้านของเราในกูเกิล แม็ปส์

ตอนที่ 1

1. คลิกดาวเทียมตรงหมายเลข 3
2. พิมพ์บ้านเลขที่ของตนเองตรงหมายเลข 4 ตัวอย่างเช่น 186/32 หมู่ที่1 ต.นอกเมือง อ.
เมือง จ.สุรินทร์ > คลิกตรงหมายเลข 5 หรือคลิก enter ที่แผงแป้นอักขระ
3. เพื่อแสดงตำแหน่งแผนที่ขณะนั้นกับตำแหน่งพื้นที่ขนาดใหญ่กว่า > คลิกตรงหมายเลข 6
4. คลิกเพิ่มในกูเกิล แม็ปส์ตรงหมายเลข 7



5. คลิกตรงหมายเลข 8



6. พิมพ์บ้านเลขที่ของตนเองอีกครั้งตรงหมายเลข 9
7. คลิกตรงหมายเลข 10 > คลิกเมาส์ซ้ายค้างไว้ที่ ลากเมาส์ไปยังตำแหน่งที่ตั้งบ้าน
และคลิกตรงหมายเลข 11


8. พิมพ์บ้านเลขที่ตนเองตรงหมายเลข 12 > พิมพ์ที่อยู่บล็อกของตนเองตรงหมายเลข 13 >
พิมพ์ที่อยู่อาศัยตรงหมายเลข 14 > คลิกบันทึกตรงหมายเลข 15



9. เมื่อการเพิ่มตำแหน่งสำเร็จ จะปรากฏข้อความ ดังนี้


10. ถ้าต้องการเปลี่ยนตำแหน่ง > คลิกแก้ไข > คลิกย้ายเครื่องหมายระบุตำแหน่ง > คลิกเมาส์ซ้ายค้างไว้ที่ ลากเมาส์ไปยังตำแหน่งใหม่ > คลิกบันทึก

11. เมื่อการย้ายเครื่องหมายระบุตำแหน่งสำเร็จ จะปรากฏข้อความ ดังนี้


ตอนที่ 2 การทดลองใช้งาน
12. ที่มุมบนขวามือ > คลิกออกจากระบบ > ที่มุมบนซ้ายมือคลิก File > New Window > ที่ช่องค้นหาพิมพ์ http://www.google.co.th > คลิก enter ที่แผงแป้นอักขระ > คลิกแผนที่ตรงหมายเลข 1 > พิมพ์บ้านเลขที่ตนเองตรงหมายเลข 7.1 > คลิก enter ที่แผงแป้นอักขระ > ปรากฏบ้านเลขที่ตนเองตรงหมายเลข 7.2 และที่ตั้งบ้านของตนเองที่สร้างไว้ตรงหมายเลข 7.3

ตอนที่ 3 ดูวิดีโอวิธีการ คลิกที่ http://maps.google.com/help/maps/tour/#add_place

วันอาทิตย์ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

การแทรกรูปภาพในบล็อก

การแทรกรูปภาพจากเครื่องคอมพิวเตอร์

1. ทำตามลำดับ 1-6


2. รอ

3. คลิกเสร็จสิ้น


4. คลิกเผยแพร่บทความ

5. คลิกดูบทความ

วันจันทร์ที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

การเขียนบล็อกบันทึกงาน

1. พิมพ์ชื่อบทความที่จะเขียนเป็นภาษาไทยตรงหมายเลข 1
2. เปลี่ยนรูปแบบตัวอักษรตรงหมายเลข 2 เปลี่ยนขนาดตัวอักษร ตัวหนา ตัวเอียงตรงหมายเลข 3 เปลี่ยนสีตัวอักษรตรงหมายเลข 4
3. จัดเรียงข้อความตรงหมายเลข 5 ใส่หมายเลขหรือสัญลักษณ์หัวข้อตรงหมายเลข 6
4. แทรกรูปภาพตรงหมายเลข 7 แทรกวีดิโอตรงหมายเลข 8
5. ใส่คำสำคัญเกี่ยวกับบทความตรงหมายเลข 9
6. ระหว่างพิมพ์ ควรคลิกตรงหมายเลข 10
7. เมื่อเสร็จสิ้นแล้วคลิกตรงหมายเลข 11
8. เพื่อดูบทความที่สร้าง > คลิกตรงหมายเลข 12

วันอาทิตย์ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

การเปิดใช้บล็อกบันทึกงาน

1. เพื่อเปิดจีเมลของนักศึกษา > ที่ช่องค้นหาตรงหมายเลข 1 พิมพ์ http://www.google.co.th > คลิก enter ที่แผงแป้นอักขระ > คลิก Gmail ตรงหมายเลข 2



2. พิมพ์อีเมล รหัสผ่าน และคลิกลงชื่อเข้าใช้งาน


3. คลิกเปิดอีเมลแจ้งที่อยู่บล็อก > เพื่อดูบล็อกของอาจารย์คลิกที่ http://geosurin.blogspot.com/ตรงหมายเลข 3


4. เพื่อดูบล็อกของนักศึกษา > ที่บล็อกนักศึกษา511911001ช่องขวามือ คลิกที่ชื่อนักศึกษาตรง
หมายเลข 4



5. เพื่อดูการตอบรับจากอาจารย์ > ที่ด้านล่างบทความคลิกที่ความคิดเห็น > ถ้าไม่มีข้อความใดให้แจ้งอาจารย์อีกครั้ง



6. ถ้าต้องการเริ่มงานใหม่ ที่มุมบนขวามือคลิกบทความใหม่

การปรับแต่งบล็อกบันทึกงาน

1. เพื่อปรับแต่งชื่อบล็อก > ที่มุมบนขวามือคลิกที่ > ที่มุมบนซ้ายมือคลิกที่

2. ที่ช่องหัวข้อพิมพ์ชื่อเล่นภาษาไทยตามด้วยเลขประจำตัว 2 ตัวสุดท้าย


3. ที่ด้านล่างของบทความคลิกที่ > คลิกดูบล็อก


4. เพื่อปรับแต่งประเภทและขนาดและสีตัวอักษรกับพื้นหลังของหน้าบทความ> ที่มุมบนขวามือ
คลิกที่ > ที่มุมบนซ้ายมือคลิกที่


5. ที่ช่องซ้ายมือคลิกที่สีพื้นหลังของหน้าตรงหมายเลข 1 > คลิกเลือกสีตรงหมายเลข 2 หรือ 3 > ดูการเปลี่ยนแปลงตรงหมายเลข 4 > ทดลองปรับแต่งส่วนอื่นๆตรงหมายเลข 1 เมื่อเสร็จสิ้น > คลิกบันทึกการเปลี่ยนแปลงตรงหมายเลข 5 > คลิกดูบล็อกตรงหมายเลข 6


6. เพื่อปรับวันที่> ที่มุมบนขวามือคลิกที่ > ที่มุมบนซ้ายมือคลิกที่ ตรงหมายเลข 1 > คลิกที่การจัดรูปแบบตรงหมายเลข 2 > พิมพ์ 1 ตรงหมายเลข 3 > คลิกเลือกตามที่กำหนดตรงหมายเลข 4 ,5,6,7



7. ที่ด้านล่างของบทความคลิกที่ > คลิกดูบล็อก

วันเสาร์ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2552

การใช้Paint จัดการภาพถ่ายดาวเทียม

1. กดปุ่ม PrtSc SysRq ที่แผงแป้นอักขระตรงแถวบนขวามือ ทำตามลำดับหมายเลข 29-30


2. คลิก Edit > Paste คลิกปุ่ม Select ที่แถวบนขวามือ วางกรอบขนาดที่ต้องการ
3. คลิก Edit > Cut > File > New > No
4. คลิก Edit > Paste >คลิกปุ่ม Select
5. คลิก File > Save As ที่ช่อง Save in เลือกไดรฟ D ที่ช่อง File name พิมพ์ชื่อที่ต้องการ >ที่ช่อง Save as type คลิกเลือก JPEG > คลิก Save

ข้อมูลเพิ่มเติม

วันศุกร์ที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2552

การสร้างบล็อกบันทึกงานด้วยกูเกิล

1. ถ้ายังไม่มีอีเมล ให้สมัครจีเมล (gmail) ดังตัวอย่าง (แต่ถ้ามีแล้วให้ข้ามไปทำข้อที่ 2.3)
1.1 ที่ช่องค้นหาตรงหมายเลข 1 พิมพ์ http://www.google.co.th > คลิก enter ที่แผงแป้นอักขระ > คลิก Gmail ตรงหมายเลข 2 และสร้างบัญชีตรงหมายเลข 3






1.2 พิมพ์รายละเอียดตามลำดับ จนถึงคลิกฉันยอมรับโปรดสร้างบัญชีของฉัน

2. บล็อกบันทึกงาน
2.1 ความหมายของบล็อก บล็อกมาจากการผสมคำระหว่าง WEB ( Wolrd Wide Web) +LOG (บันทึก) = BLOG เป็นรูปแบบเว็บไซต์ประเภทหนึ่ง ซึ่งเขียนขึ้นในลำดับที่เรียงตามเวลาในการเขียน โดยแสดงข้อมูลที่เขียนล่าสุดไว้แรกสุด ส่วนประกอบของบล็อก ได้แก่ ข้อความ ภาพ ลิงก์ วิดีโอ ความแตกต่างของบล็อกกับเว็บไซต์โดยปกติคือ บล็อกจะเปิดให้ผู้เข้ามาอ่านข้อมูล สามารถแสดงความคิดเห็นต่อท้ายข้อความที่เจ้าของบล็อกเป็นคนเขียน ผู้เขียนจึงผลตอบกลับได้ทันที
2.2 การใช้ประโยชน์ ใช้เป็นเครื่องมือสื่อสาร เป็นสื่อใหม่ที่เปลี่ยนรูปแบบการสื่อสาร เพราะคนเขียนบล็อกทำหน้าที่เป็นสื่อด้วยตัวเอง ไม่พึ่งสื่อสารมวลชน จึงสื่อสารกันเองในกลุ่ม ประกาศข่าวสาร แสดงความคิดเห็น เผยแพร่ผลงาน ข่าวปัจจุบัน เรื่องส่วนตัวหรือไดอารีออนไลน์ และบริษัทเอกชนหลายแห่งใช้เสนอข่าวสั้น ให้ลูกค้าแสดงความคิดเห็นตอบกลับเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ (http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9A%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%AD%E0%B8%81)
2.3 การสร้างบล็อก
2.3.1 ที่ช่องค้นหาพิมพ์ http://www.google.co.th > คลิก enter ที่แผงแป้นอักขระ
2.3.2 พิมพ์ blogger ตรงหมายเลข 1 คลิกตรงหมายเลข 2

2.3.3 คลิกสร้างบล็อกตรงหมายเลข 3


2.3.4 คลิกเข้าสู่ระบบก่อนตรงหมายเลข 4



2.3.5 พิมพ์ จีเมล รหัสผ่าน คลิกเตรื่องหมายถูก คลิกลงชื่อเข้าใช้งาน



2.3.6 ทำตามลำดับจาก 6.1-6.5 ที่6.1 พิมพ์ชื่อเล่นภาษาไทยตามด้วยเลขประจำตัวนักศึกษา 2 ตัวสุดท้าย ที่6.2 พิมพ์ชื่อเล่นภาษาอังกฤษตามด้วยเลขประจำตัวนักศึกษา 2 ตัวสุดท้าย



2.3.7 ทำตามลำดับจาก 7.1-7.3 ที่7.2 คลิกแม่แบบที่เลือก 1 ครั้ง




2.3.8 คลิกตรงหมายเลข 8




2.3.9 ทำตามลำดับจาก 9.1-9.4 ที่9.1 พิมพ์แนะนำหมู่บ้าน....ต......อ......จ.......



2.3.10 คลิกตรงหมายเลข 10 ตรวจการสะกดคำ ถ้าต้องแก้ไขให้คลิกรูป ตรงท้ายบทความ เสร็จแล้วคลิกตรงหมายเลข 10 อีกครั้ง



3. ให้คัดลอกที่อยู่บล็อกของนักศึกษา ตัวอย่างเช่น http://envisurin.blogspot.com ส่งอีเมลมาที่ bunsom.sungsai@gmail.com