มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

วันเสาร์ที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2555

สัปดาห์ที่1คำอธิบายรายวิชา บทนำ ข่าว หลักสูตรสังคมฯ

รหัสวิชา 2542401  การแปลความหมายจากแผนที่และภาพถ่ายทางอากาศ 3(2-2-5)

คำอธิบายรายวิชา
    ศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับแผนที่และภาพถ่ายทางอากาศ  สังเกตและวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางกายภาพและสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม  ผ่านการแปลความหมายจากแผนที่ภูมิประเทศและภาพถ่ายทางอากาศ  ในด้านลักษณะภูมิประเทศ  ลักษณะทางธรณีวิทยา  พืชพรรณธรรมชาติ  ดิน  แหล่งน้ำ  และการระบายน้ำ  การใช้ที่ดินและสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรมอื่นๆ  เชื่อมโยงความรู้มาใช้ประโยชน์  โดยการเลือกศึกษาในพื้นที่

วัตถุประสงค์ทั่วไป

  1. เพื่อเรียนรู้อย่างเป็นระบบ มุ่งที่วิธีการเรียนรู้มากกว่าเนื้อหา เน้นความคิดการหาเหตุผล การสังเกตุ  การอธิบายด้วยตนเอง  
  2. ฝึกทักษะการใช้เครื่องมือในการทำแผนที่
  3. ฝึกบูรณาการเชื่อมโยงความรู้มาใช้ประโยชน์  โดยการเลือกศึกษาในพื้นที่
วิธีสอนและกิจกรรม

1. เวลาเรียนต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของ 16 สัปดาห์ ขาดเรียนตั้งแต่ 7 ครั้งจะไม่มีสิทธิ์สอบปลายภาค และผลการเรียนเป็น E

2. ศึกษาจากบล็อกของอาจารย์ ที่ http://geosurin.blogspot.com/

การวัดและประเมินผล

การวัดผล
1. คะแนนระหว่างภาคเรียน 70 %

2. คะแนนสอบปลายภาค 30 %

การประเมินผล
คะแนนระหว่าง 80-100 ได้ระดับ A
คะแนนระหว่าง 75-79 ได้ระดับ B+
คะแนนระหว่าง 70-74 ได้ระดับ B
คะแนนระหว่าง 65-69 ได้ระดับ C+
คะแนนระหว่าง 60-64 ได้ระดับ C
คะแนนระหว่าง 55-59 ได้ระดับ D+
คะแนนระหว่าง 30-54 ได้ระดับ D
คะแนนระหว่าง 0-29 ได้ระดับ E



หัวข้อของบทที่1





แผนการเรียน  ภาคปกติ 541911003 (คบ5) สังคมศึกษา   22 ต.ค.2555  คลิกที่นี่เพื่ออ่านรายละเอียด


หลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต  สาขาวิชาสังคมศึกษา  แขนงวิชาประวัติศาสตร์  รัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ หลักสูตรใหม่  พุทธศักราช 2549  ฉบับสมบูรณ์  คลิกที่นี่เพื่ออ่านรายละเอียด

มาตรฐานคุณวุฒิฯ  วิชาเอกสังคมศึกษา คลิกที่นี่เพื่ออ่านรายละเอียด

ข้อมูลรายวิชาเรียนหลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิตของนักศึกษาสาขาวิชาสังคมศึกษา  แขนงวิชาประวัติศาสตร์  รัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ หลักสูตรใหม่  พุทธศักราช 2549  คลิกที่นี่เพื่ออ่านรายละเอียด




สัปดาห์ที่2 ทิศ มาตราส่วน ด้วยกูเกิล แม็ปส์ค้นหาเส้นทางไปบ้านของเรา


1.  แบบฝึกปฏิบัติเรื่องการใช้แผนที่ผ่านอินเทอร์เน็ตด้วยกูเกิล  แม็ปส์ค้นหาเส้นทางการเดินทางไปบ้านของเรา
คลิกที่นี่เพื่ออ่านรายละเอียด
https://docs.google.com/file/d/0B24pBhbprz5NbmxuWmdTSDdESkk/edit



2.  หัวข้อของบทที่2


คลิกที่นี่เพื่ออ่านรายละเอียดบทที่2

3.  แบบฝึกปฏิบัติเรื่องทิศ  ระยะทาง  และมาตราส่วน  คลิกที่นี่เพื่ออ่านรายละเอียด
https://docs.google.com/file/d/0B24pBhbprz5NUXBiV2F4TmctMjQ/edit



4.  แบบฝึกปฏิบัติเรื่องการใช้เข็มทิศซิลวา  คลิกที่นี่เพื่ออ่านรายละเอียด
https://docs.google.com/file/d/0B24pBhbprz5NSkJRRWhaeGFYcE0/edit



5. ทิศเหนือจริง  ทิศเหนือกริด  ทิศเหนือแม่เหล็ก


6.การวัดระยะทางในแผนที่ด้วยมาตราส่วนเส้นบรรทัด





สัปดาห์ที่3 กูเกิล แม็ปส์เพื่อสร้างแผนที่บ้านของเรา


1.  แบบฝึกปฏิบัติเรื่องทิศ  ระยะทาง  และมาตราส่วน  คลิกที่นี่เพื่ออ่านรายละเอียด
https://docs.google.com/file/d/0B24pBhbprz5NUXBiV2F4TmctMjQ/edit



2.  แบบฝึกปฏิบัติเรื่องการใช้เข็มทิศซิลวา  คลิกที่นี่เพื่ออ่านรายละเอียด
https://docs.google.com/file/d/0B24pBhbprz5NSkJRRWhaeGFYcE0/edit





3.  แบบฝึกปฏิบัติเรื่องการสร้างแผนที่บ้านของ.................................ผ่านอินเทอร์เน็ตด้วยกูเกิล  แม็ปส์  


1.  เพื่อเข้าใช้บริการ /  ที่เดสก์ท็อปคลิกสัญลักษณ์กูเกิล โครม/ คลิกลงชื่อเข้าสู่ระบบ
2.  พิมพ์อีเมลและรหัสผ่าน / คลิกลงชื่อเข้าใช้งาน 
3.  เพื่อเปิดกล่องจดหมาย / ที่ด้านบนคลิก Gmail /
4.  เพื่อเปิดแผนที่ที่ส่งแล้ว / ที่ด้านซ้ายมือคลิก 1,  2,   3 (ดูรูปด้านล่าง) 













5.  เพื่อสร้างแผนที่ / คลิก 1 / ปรากฏ 2 / คลิก 2 / ปุ่ม 2, 3 หายไป (ดูรูปด้านล่าง)  


6.  กรณีแผนที่ที่ส่งอีเมล์มาไม่ชัด  ให้คลิก 1 แผนที่ (ดูรูปด้านล่าง) / ที่ 2 พิมพ์ ด่านศุลกากรช่องจอม ด่าน / คลิก 3 / ปรากฏ 4 / คลิก 5 / คลิกสร้างแผนที่   


 กรณีสร้างแผนที่บ้านของเราให้สร้างตามข้างล่างนี้                       







ถ้าแผนที่บ้านของเราไม่ชัดให้สร้างตามข้างล่างนี้


13.  เพื่อค้นรูปภาพจากเว็บ มาใส่ในหน้าต่างข้อมูล  / เปิดหน้าต่างกูเกิลโครมเพิ่มอีก  
       13.1  เฉพาะสร้างแผนที่บ้านของเรา / ที่ช่องค้นหาพิมพ์ชื่อสถานที่สำคัญใกล้บ้านหรือชื่อตำบลหรือชื่ออำเภอ
คลิกค้นรูป
       13.2  ถ้าไม่สร้างแผนที่บ้านของเรา / ที่ช่องค้นหาพิมพ์ด่านศุลกากรช่องจอม / คลิกค้นรูป
       13.3.  เลือกรูปที่ต้องการ / คลิกที่รูปอีกครั้งให้ขยายมากขึ้น  ด้านขวามือปรากฏเว็บไซต์สำหรับรูปนี้ที่ 9 (ดูรูปด้านล่าง) 
14.  เพื่อใส่รูปภาพในหน้าต่างข้อมูล / คลิกเมาส์ขวามือที่ 1 (ดูรูปด้านล่าง) 
15.  คลิก 2 แทรกภาพ/ ที่ช่อง 3 ปรากฏ http// ทับด้วยแถบสีน้ำเงิน  ให้ลบโดยคลิกdelete ที่แป้นพิมพ์ / คลิกเมาส์ขวามือ /คลิก 4, 5, 6, 7, 8
























16.  เพื่อใส่ที่อยู่เว็บไซต์ของรูปภาพ / ด้านซ้ายมือคลิกแก้ไข / คลิก 1 / คลิกเมาส์ซ้ายค้างไว้เลื่อน 2 / ที่ 3 คลิกเมาส์ขวา / คลิกวาง  / คลิก 4, 5, 6 (ดูรูปด้านล่าง) 
17.  เพื่อเปิดดู / คลิก 1
18.  เพื่อลบสัญลักษณ์ที่สร้างขึ้น  คลิก 7
19.  เพื่อเปลี่ยนสัญลักษณ์ /คลิก 8 / เลือกคลิกสัญลักษณ์ / คลิก4, 5, 6




























25.  เพื่อเชื่อมโยงข้อความในหน้าต่างข้อมูลไปเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง / เปิดหน้าต่างกูเกิล เพิ่ม 1 หน้าต่างเพื่อค้นหาชื่อสถานที่สำคัญใกล้บ้านหรือชื่อตำบลหรือชื่ออำเภอ หรือบ่อนกาสิโนช่องจอม / เลือกคลิกเปิดเว็บไซต์ (ดูรูปด้านล่าง) 
26.  ที่ 1 คัดลอกที่ตั้งเว็บไซต์ / ที่ 2 พิมพ์ชื่อสถานที่สำคัญใกล้บ้านหรือชื่อตำบลหรือชื่ออำเภอ หรือบ่อนกาสิโนช่องจอมและทำแถบสีดำข้อความ  / คลิก 3  
27.  ที่ 4 คลิกเมาส์ขวา / คลิก 5, 6, 7, 8, 9 (ดูรูปด้านล่าง)  
 28.  เพื่อเปิดดู / คลิก 1, 2 (ดูรูปด้านล่าง)    
                                                                                               บ้านเลขที่สร้างตามข้างล่างนี้                                                                                       

บ่อนกาสิโนช่องจอมสร้างตามข้างล่างนี้  


















29.  เพื่อส่งอีเมล / คลิก 1 บ้านเลขที่ / คลิก 2 / คลิกส่ง / 3 พิมพ์ / 4 พิมพ์คาบเรียนต่อท้าย เช่น จ.8.30 / คลิก 5 ส่ง (ดูรูปด้านล่าง)  
ส่งอีเมลบ้านเลขที่ทำตามข้างล่างนี้                                              
 ส่งอีเมลบ่อนกาสิโนช่องจอมทำตามข้างล่างนี้  

















4.  คลิกที่นี่เพื่ออ่านรายละเอียดของแบบฝึกปฏิบัติเรื่องการสร้างแผนที่บ้านของ.................................ผ่านอินเทอร์เน็ตด้วยกูเกิล  แม็ปส์  



5. คลิกที่นี่เพื่ออ่านรายละเอียดบทที่7
https://docs.google.com/file/d/0B24pBhbprz5NMWFRbTVqT29EaFU/edit




6.กูเกิล  แม็ปส์ : คลิปวิธีสร้างแผนที่เส้นทางขี่จักรยาน

สัปดาห์ที่4 ระบบพิกัด

1. แบบฝึกปฏิบัติเรื่องระบบพิกัด  คลิกที่นี่เพื่ออ่านรายละเอียด
https://docs.google.com/file/d/0B24pBhbprz5NVGZEWktORW1UT0E/edit

2.  ระบบพิกัดภูมิศาสตร์
http://www.ncl.ucar.edu/Applications/Images/mapgrid_1_lg.png









3.  พิกัดยูทีเอ็ม




สัปดาห์ที่5 การอ่านพิกัดยูทีเอ็ม กริดทางทหาร กูเกิล แม็ปส ลองดู พ็อยท์มี จีโอแคชชิ่ง


1. วิธีสร้างไม้บรรทัดจากมาตราส่วนเส้นบรรทัด  เพื่อกำหนดตำแหน่งพิกัดยูทีเอ็มและกริดทางทหารในแผนที่ภูมิประเทศ  มาตราส่วน 1:50,000  






1.1

1.1 วางขอบกระดาษA4 ให้มุมกระดาษอยู่ซ้ายมือ / ทาบกระดาษกับมาตราส่วนเส้นบรรทัด หน่วยวัดเป็นกิโลเมตร / ทำเครื่องหมายบนกระดาษ


1.2  เขียนตัวเลข1-10 กำกับเครื่องหมาย













1.3 วางขอบกระดาษA4 ให้มุมกระดาษอยู่ขวามือ / ทาบกระดาษกับมาตราส่วนเส้นบรรทัด หน่วยวัดเป็นกิโลเมตร / ทำเครื่องหมายบนกระดาษ











1.4  ปรากฏไม้บรรทัดในด้านนอนและด้านตั้ง












2.  วิธีกำหนดค่าพิกัดยูทีเอ็ม 
     2.1 วางไม้บรรทัดกระดาษA4 ตรงตำแหน่งที่ต้องการ  /ให้มุมกระดาษอยู่ทางขวามือ



  
  2.2. การกำหนดค่าให้เริ่มจากพิกัดยูทีเอ็มอ้างอิง+ ค่าที่อ่านได้จากข้อ2.1  ตัวอย่าง  โรงเรียนมหาราช 4  ค่าตัวเลขพิกัดยูทีเอ็มอ้างอิงปรากฏตรงมุมล่างด้านซ้าย  

315000 m.E. + 850 =  315850  m.E

1604000 m.N. + 800 =  1604800 m.N.
                                                                       
พิกัดยูทีเอ็ม  48P315850  m.E  1604800 m.N.
  


2.3  แบบฝึกปฏิบัติ  กำหนดให้อ่านพิกัดยูทีเอ็ม 1 ตำแหน่ง  เขียนคำตอบลงในกระดาษA4




















3. วิธีกำหนดตำแหน่งบ้านระบบพิกัดภูมิศาสตร์ด้วยกูเกิล แม็ปส  ลองดู พ็อยท์มี  และวิธีเปลี่ยนแปลงค่าพิกัดภูมิศาสตร์แบบองศาทศนิยม  เป็นองศา  ลิปดา  พิลิปดา ซีกโลก  และยูทีเอ็มด้วยโปรแกรมจีโอแคชชิง  คลิกเพื่ออ่นรายละเอียด
https://docs.google.com/file/d/0B24pBhbprz5NNDRRZ2MzNFZ6NGs/edit


4.  วิธีอ่านค่าพิกัดยูทีเอ็มในแผนที่ภูมิประเทศ  มาตราส่วน 1:50,000 (เริ่มที่ 07:58)



5.  วิธีสร้างไม้บรรทัดเพื่ออ่านค่าพิกัดยูทีเอ็มด้วยมาตราส่วนเส้นบรรทัด
http://www.youtube.com/watch?feature=player_embedded&v=xA7gSfB285Q




6. การสำรวจด้วยระบบกริดทางทหาร

http://www.youtube.com/watch?v=Szbwcu_d7zs&feature=related




7.  Pointme วิธีการปักหมุด
คู่มือการใช้งาน / คลิกเมาส์ขวามือที่แผนที่ / คลิก Help


8. Longdo Map วิธีการปักหมุดเฉพาะสถานที่สาธารณะทำอย่างไร คลิกดูวิดิโอ

http://map.longdo.com/files/tutorial-videos/addlocation/index.html



สัปดาห์ที่ 6 พิกัดภูมิศาสตร์และพิกัดยูทีเอ็ม หอพัก


1. วิธีกำหนดพิกัดภูมิศาสตร์ตำแหน่งหอพักด้วยพอยท์ มี 

     1) เพื่อเข้าใช้บริการ /  ที่เดสก์ท็อปคลิก กูเกิลโครม / คลิกลงชื่อเข้าสู่ระบบ / พิมพ์อีเมลและรหัสผ่าน / คลิกลงชื่อเข้าใช้งาน 
    2) เพื่อเปิดเว็บไซต์พอยท์ มี / พิมพ์ pointme.pointasia.com / กด Enter ที่แป้นพิมพ์ / คลิกหมุดเมืองไทย /คลิกแบบผสม
     3) เพื่อขยายภาพเต็มหน้าจอ / คลิก Full Screen
    4)  เพื่อค้นหาหอพัก / คลิก Search / พิมพ์ ต.นอกเมือง /คลิกต.นอกเมือง 
    5)  ปรากฏสนามฟุตบอลโรงเรียนหนองโตงและสระน้ำในสวนสมเด็จด้านซ้ายมือ / คลิกเมาส์ซ้ายค้างไว้ที่ภาพ  เลื่อนเมาส์ลงมาด้านมุมล่างขวามือ /ขยายภาพมากที่สุด
     6)  ปรากฏอาคาร2 และอาคาร30 /เลื่อนภาพหาหอพัก / พบแล้ว ให้เลื่อนหอพักให้อยู่กลางหน้าจอ / เลื่อนเมาส์ที่หอพัก  / เขียนเฉพาะตัวเลขพิกัดภูมิศาสตร์หอพักโดยระบุซีกโลก  เป็นข้อที่1 ในA4
    7)  เพื่อบันทึกภาพด้วยอะโดเบฯ / คลิก start / All Programs / Adobe Photoshop CS2 /
    8)  กลับมาคลิกที่หน้าจอหอพักในข้อ 6 / ที่แป้นพิมพ์  กดปุ่ม Printscreen 1 ครั้ง /
    9)  เพื่อวางภาพ  / กลับมาที่หน้าจออะโดเบฯ / คลิก File /New /OK / Edit /Paste
  10) เพื่อเปิดหน้าจออะโดเบฯ ให้มากที่สุด / มุมบนขวามือคลิก Maximize /ขวามือที่หน้าต่าง Navigator คลิกปุ่ม Zoom in ให้เป็น 100%
  11)  เพื่อพิมพ์ชื่อหอพัก / ด้านซ้ายมือคลิกปุ่ม T / คลิกเมาส์ตรงหอพัก /ด้านบนคลิกขนาดตัวอักษรเป็น 24 pt / คลิกสีดำเปลี่ยนเป็นสีแดง / คลิก OK / 
  12)  เพื่อทำให้ตัวอักษรมีขอบสีดำ /ที่มุมล่างขวามือ หน้าต่าง Layers / คลิกปุ่มที่ 2 จากซ้ายมือ Add a layer style /stroke / ที่ช่อง Color คลิกสีดำ /Ok/Ok
  13)  เพื่อบันทึก / คลิก File /Save for web/มุมบนขวามือ คลิกเปลี่ยน GIF เป็น JPEG / Save / Desktop / พิมพ์ชื่อนักศึกษา /Save
  14)  เพื่อส่งอีเมล์ ที่หัวเรื่องพิมพ์ ชื่อหอพัก  รหัส 2 ตัวนักศึกษา อ.8  หรือ อ.13 หรือ พฤ.8 หรือ พฤ. 13 / คลิกเลือกไฟล์ /ส่ง  
2. แปลงพิกัดภูมิศาสตร์หอพักเป็นยูทีเอ็มด้วยโปรแกรมจีโอแคชชิง /เขียนเฉพาะตัวเลขพิกัดโดยระบุm.E  m.N  เป็นข้อที่2 ในA4  ไม่ต้องมี x, y
3. กำหนดพิกัดภูมิศาสตร์ทั้งแบบทศนิยมมีซีกโลก และองศา ลิปดา  พิลิปดา ซีกโลกตำแหน่งหอพักด้วยกูเกิล แม็ปส / เขียนเฉพาะตัวเลขพิกัดภูมิศาสตร์หอพักโดยระบุซีกโลก  เป็นข้อที่3 ในA4
 4. กำหนดพิกัดภูมิศาสตร์ทั้งแบบทศนิยมมีซีกโลกและองศา ลิปดา  พิลิปดา ซีกโลกตำแหน่งหอพักด้วย      
 ลองดูแม็ป /เขียนเฉพาะตัวเลขพิกัดภูมิศาสตร์หอพักโดยระบุซีกโลก  เป็นข้อที่4 ในA4


5. วิธีกำหนดะบบพิกัดภูมิศาสตร์ตำแหน่งหอพักรด้วยกูเกิล แม็ปส  ลองดู พ็อยท์มี  และวิธีเปลี่ยนแปลงค่าพิกัดภูมิศาสตร์แบบองศาทศนิยม  เป็นองศา  ลิปดา  พิลิปดา ซีกโลก  และยูทีเอ็มด้วยโปรแกรมจีโอแคชชิง  คลิกเพื่ออ่นรายละเอียด
https://docs.google.com/file/d/0B24pBhbprz5NNDRRZ2MzNFZ6NGs/edit



สัปดาห์ที่ 7 การวัดพื้นที่


1. วิธีวัดพื้นที่ด้วยลองดูแม็ป  ฟรี  แม็ป  ทูลส์  และโซนัม  โซลูชันส์

https://docs.google.com/file/d/0B24pBhbprz5NQmszYzFaWE55TWc/edit



2.  ยูทีเอ็มโซน
     2.1  แบ่งโลกป็น 60 โซน  ตามเส้นเมริเดียนระหว่างลองจิจูดที่ 1800W-1800E (ดูรูปที่ 4.11)  แนวตั้งแต่ละโซนกว้างเท่ากับ 6ลองจิจูด  ยกเว้นบางโซน  ตัวอย่างเช่น  ทิศตะวันตก-เฉียงใต้ของประเทศนอรเวกว้างมากกว่า 6ลองจิจูด (ดูรูปข้างล่าง) 



     2.2  โซนที่ ด้านซ้ายมือเริ่มต้นที่ลองจิจูด 1800W  อยู่ระหว่างลองจิจูดที่ 1800W-1740
(ดูรูปที่ 4.11) นับจากลองจิจูดที่ 180 0  ไปทางขวามือมีค่า 60 ถึงลองจิจูดที่ 174 ต่อเนื่องไปจนถึงโซนที่ 60  ระหว่างลองจิจูดที่ 174E-180E  สำหรับโซนที่ 1-9  ใช้ นำหน้า เป็น 01-09 
  
   2.3  ทุกโซนมีเส้นเมริเดียนกลาง เส้นเป็นเส้นแบ่งครึ่งโซน  ตัวอย่างเช่น  โซนที่  มีลองจิจูดที่ 1770เป็นเส้นเมริเดียนกลาง โซนที่ 60 มีลองจิจูดที่ 1770เป็นเส้นเมริเดียน-กลาง  ระยะห่างแต่ละข้างจากเส้นเมริเดียนกลางประมาณ 180 กม.      

    2.4  ประเทศไทยอยู่ในโซนที่ 47  และ48  โซนที่ 47  อยู่ระหว่างลองจิจูดที่ 96E-102E  โดยมีลองจิจูดที่ 990 เป็นเส้นเมริเดียนกลาง  สำหรับโซนที่ 48 อยู่ระหว่างลองจิจูดที่ 102E-1080E  โดยมีลองจิจูดที่ 1050 เป็นเส้นเมริเดียนกลาง 

3.  อักษรประจำยูทีเอ็มโซน 

     3.1  แบ่งช่องตามเส้นขนานละติจูดระหว่าง 840N-800ออกเป็น20 ช่อง  แต่ละช่องกว้าง 80 ยกเว้นช่อง  ระหว่างละติจูดที่ 720N-840N  กว้าง 120


     3.2  กำหนดเรียกชื่อแต่ละช่องด้วยอักษร  เริ่มจากช่องที่ ด้านล่างสุดระหว่างละติจูดที่ 720S-80กำหนดอักษรเป็น C  ช่องที่ เป็น D นับต่อเนื่องไปทางเหนือจนถึงช่องที่ 20  เป็น X  ยกเว้น  กับ O  เพราะเหมือนเลข กับ 0  ส่วน กับ B ใช้เป็นอักษรในระบบพิกัดยูพีเอส (The Universal Polar Stereographic Grid)  ของขั้วโลกเหนือ  และ กับ Z  ใช้เป็นอักษรของขั้วโลกใต้ 
           
     3.3  อักษรประจำยูทีเอ็มโซนของประเทศไทยเป็น N,  P  และQ   



สัปดาห์ที่ 9 ระดับความสูง ความลาดชัน ภาพตัดด้านข้างภูมิประเทศ



1. คำถาม คลิกที่นี่

https://docs.google.com/file/d/0B24pBhbprz5NME1aM0dOZE1Eb1k/edit

2. ดูรูปที่กำหนดและรายละเอียด คลิกที่นี่

https://docs.google.com/file/d/0B24pBhbprz5NNE9hbU1BSVdwQ1U/edit



เส้นชั้นความสูง



ภาพตัดด้านข้างภูมิประเทศ














 การใช้สัญลักษณ์ในแผนที่ประเภทต่างๆ